หน้าแรก
ประวัติความเป็นมา
วิสัยทัศน์ /พันธกิจ
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
ข้อมูลหมู่บ้าน
อำนาจหน้าที่
สถานที่สำคัญ
ที่ทำการ อบต.ท่าเจ้าสนุก

โครงสร้างอบต.ท่าเจ้าสนุก
โครงสร้างส่วนราชการ
คณะผู้บริหาร อบต.ท่าเจ้าสนุก
สมาชิกสภา อบต.ท่าเจ้าสนุก
สำนักปลัด
กองคลัง
กองช่าง

กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน
อาสาสมัคร อสม.
อาสาสมัคร อปพร.
สภาเด็กและเยาวชน.

การแถลงนโยบายต่อสภา
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ข้อบัญญัติตำบล
ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
แผนพัฒนาตำบล
แผนดำเนินการประจำปี
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
    รายปี

แผนปฎิบัติป้องกันปราบปราม
    การทุจริตและประพฤติมิชอบ

รายงานการประเมินผลแผน
รายงานการจัดเก็บรายได้
รายงานการเงินประจำปี
รายงานแสดงรายรับ-รายจ่าย
รายงานแสดงฐานะทางการเงิน
รายงานแผนการใช้จ่ายเงินรวม
    รายไตรมาส

รายงานผลการดำเนินงาน
    รายไตรมาส

แผนการจัดหาพัสดุ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
    รายจ่ายประจำปี

รายงานผลประกาศสอบราคา
รายงานผลผู้ชนะการจัดซื้อ
    จัดจ้างรายไตรมาส

สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศกำหนดสมัยประชุม
ประกาศเรียกประชุมสภาฯ
รายงานการประชุมสภาฯ
รายงานประชุมคณะผู้บริหาร
การประเมินความเสี่ยง
     การทุจริตประจำปี

ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียน
     การทุจริตประจำปี

แนวปฏิบัติการจัดการ
     เรื่องร้องเรียนการทุจริต

แผนปฏิบัติการป้องกัน
     การทุจริต

รายงานผลการดำเนินการ
     ป้องกันทุจริตประจำปี

เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
ข่าวสารทรัพยากรบุคคล
นโยบายการบริหาร
     ทรัพยากรบุคคล

การดำเนินการตามนโยบาย
     การบริหารทรัพยากรบุคคล

หลักเกณฑ์การบริหารและ
    พัฒนาทรัพยากรบุคคล

รายงานผลการบริหารและ
    พัฒนาบุคลากรประจำปี

แผนอัตรากำลังหรือ
     แผนพัฒนาบุคลากร

 
นโยบายไม่รับของขวัญ
  No Gift Policy

นโยบายคุ้มครองข้อมูล
  ส่วนบุคคล

ประมวลจริยธรรมสำหรับ
  เจ้าหน้าที่ของรัฐ

มาตราการส่งเสริมคุณธรรม
  ความโปร่งใสภายในหน่วยงาน

การดำเนินงานตามมาตราการ
  ส่งเสริมคุณธรรมความโปร่งใส
 ภายในหน่วยงาน

องค์ความรู้ที่ใช้ในองค์กร
พรบ/กฏระเบียบกระทรวง
สาระน่ารู้/อกสารเผยแพร่
แบบฟอร์มคำร้องทั่วไป
ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์
ศูนย์ร้องเรียนการทุจริต
ตู้รับฟังความคิดเห็นประชาชน
สถิติการให้บริการประชาชน
ผลการสำรวจความพึงพอใจ
งานผู้สูงอายุ
งานความพิการ
ฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น
ระเบียบการรับบริการต่างๆ
ผู้ดูแลระบบ
เฟสบุ๊คอบต.ท่าเจ้าสนุก
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ อบต.ท่าเจ้าสนุก
มาตราฐานการบริหารและการบริการสาธารณะ
หนังสือราชการ สถจ.พระนครศรีอยุธยา
แบบวัดความพึงพอใจ
-
เช็คอีเมล์
หน้าหลัก ข่าว กิจกรรม สินค้า OTOP กระดานสนทนา อบต.ท่าเจ้าสนุก ท่องเที่ยว ติดต่อ อบต.
 
 
   
 
บึงสวนพริก หมู่ 9 ตำบลท่าเจ้าสนุก  
เป็นบึงน้ำขนาดใหญ่ ธรรมชาติร่มรื่นสวยงาม อากาศเย็นสบาย เหมาะแก่การนั่งพักผ่อน หย่อนใจในตอนเย็นๆ


 
   
   
   
 
พระนอนวัดสะตือ  



 
   
   
   
 
บ่อน้ำโบราณ พระเจ้าทรงธรรม  
บ่อน้ำศักดิ์สิทธ์อายุ 400 ปี ก่อสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าทรงธรรม ซึ่งถูกค้นพบและอนุรักษณ์ไว้ให้คงสภาพเดิมเพื่อชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป


 
   
   
   
 
เขื่อนพระรามหก  



 
   
   
   
 
วัดสฏางค์  
วัดสฏางค์ เป็นวัดมหานิกายตั้งอยู่บริเวณคุ้งแม่น้ำ ป่าสักฝั่งตะวันตก ในเขตบ้านสฏางค์ ตำบลท่าเจ้าสนุก อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตรงกับรัชกาลที่ ๓ โดยกรมหมื่นไกรสรวิชิต พระราชโอรสของรัชกาลที่๑ วัดสฎางค์เดิมชื่อวัด "วัดเสือด่าง"แล้วจึงเปลี่ยนเป็นชื่อ "วัดศรีมหาโพธิ์" ต่อมาเจ้าฟ้าอัษฎางค์เดชาวุธ พระราชโอรสของรัชกาลที่ ๕ ได้เสด็จมาที่วัด เห้นว่าวัดชำรุดทรุดโทรมมาก จึงบริจาคเงินเพื่อทำการบูรณะวัดเสียใหม่ จำนวน ๑ ชั่ง (เท่ากับ ๘๐ บาท ตามมาตราแลกเปลี่ยนเงินตรา) ซึ่งเงินจำนวน ๘๐ บาทนี้ หากมาเทียบกับค่าของเงินสมัยนี้จะแตกต่างกันมากทีเดียว และชาวบ้านจึงให้เกียรติท่านเรียกว่า "วัดอัษฎางค์"จนกระทั่งเรียกเพี้ยนต่อๆกันมาเป็น "วัดสฎางค์" ดังปัจจุบัน สถานที่ตั้งวัดเป็นที่ราบอยู่ริมแม่น้ำป่าสัก มีต้นไม้ใหญ่หลายชนิดอายุนับร้อยๆปี ขึ้นอยู่ในบริเวณเวัดจำนวนมาก คาดว่าวัดนี้สร้างมาแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งเป็นสำนักสงฆ์ก่อนยังไม่มีอุโบสถ เพราะเป็นวัดที่ห่างไกลเมืองหลวง จึงไม่นิยมสร้างเป็นอุโบสถที่ถาวรอย่างในเมืองหลวง เพราะเหตุบังคับ บ้านเมืองถูกภัยสงครามคุกคามอยู่เสมอ เมื่อข้าศึกมา ทั้งชาวบ้านและพระสงฆ์ก็ต้องอพยพหลบหนีบ้านก็ร้าง วัดก็ร้าง เมื่อเหตุการณ์ปกติก็กลับมาฟื้นฟูวัดใหม่อีกจึงไม่จำเป็นต้องสร้างอุโบสถถาวร คงสร้างเพียงศาลาคลุมพระพุทธรูปไว้เท่านั้น ต่อมาภายหลังจึงมีการก่อสร้างเสนาสนะต่างๆ เมื่อสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ได้สนับสนุนให้สร้างวัดให้สวยงามประชุนกัน เพื่อประดับบ้านเมืองทั้งในเมืองหลวงและตามหัวเมืองและสืบทอดพระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่าวัดสฎางค์ ทำการก่อสร้างอุโบสถหลังเก่าโดย "กรมไกร" หรือ "กรมหมื่นไกรสรวิชิต" พระโอรสองค์ที่ ๔๑ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก "กรมไกร" ได้สร้างอุโบสถวัดสฎางค์ในสมัยรัชกาลที่๓ ระหว่าง พ.ศ. ๒๓๗๒-๒๓๙๐ เป็นฝีมือของช่างหลวงระดมกันทำที่เรียกว่า "ช่างสิบหมู่"ฝีมือแต่ละหมู่ไม่เหมือนกันรูปร่างลวดลายของปูนปั้น ประตูหน้าต่างจึงแตกต่างกันเรียกว่าแต่ละหมู่ทำกันตามถนัด วัดสฎางค์ สร้างขึ้นเป็นวัดตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๕๙ ในสมัยพระเจ้าทรงธรรม กษัตย์แห่งกรุงศรีอยุธยา